วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558

การแบ่งเขตการกำกับดูแลตามพื้นที่ สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย


ที่มา : คู่มืออบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น หน้าที่ 134

สัญญาณเรียกขาน Call Sign  (คู่มือหน้า 131)         HS หรือ E2  N XXX
HS หรือ E2– ประเทศไทย                        N(0-9) เขต
XXX – X – VIP, XX สถานีทวนสัญญาณ (Beacon)  สถานีของชมรม (Club Station) สถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ, XXX ใช้เรียง AAA-ZZZ(ยกเว้น DDD, Q-Code, SOS และ TTT
การแบ่งสัญญาณเรียกขานของประเทศไทย แบ่งเป็น 9 เขตุ ตามศูนย์ควบคุมข่าย (คู่มือหน้า 134)
เขตุ 1 ใช้ HS0, HS1, E20, E21, E22 และ E23-E26 (เมื่อใช้ E22 หมดแล้ว)
กรุงเทพมหานคร, ปทุมธานี, ชัยนาท, นนทบุรี, ลพบุรี, สมุทรปราการ, สระบุรี, อ่างทอง, สิงห์บุรี, พระนครศรีอยุทธยา
เขตุ 2 ใช้ HS2 และ E27
ฉะเชิงเทรา, นครนายก, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด 
เขตุ 3 ใช้ HS3 และ E27 (เมื่อใช้ HS3 หมดแล้ว)
ชัยภูมิ, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ยโสธร, ศรีสะเกศ, สุรินทร์, อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ
เขตุ 4 ใช้ HS4 และ E27 (เมื่อใช้ HS4 หมดแล้ว)
กาฬสินธุ์, ขอนแก่น, นครพนม, มหาสารคาม, มุกดาหาร, ร้อยเอ็ด, เลย, สกลนคร, หนองคาย, หนองบัวลำภู, บึงกาฬ, อุดรธานี
เขต 5 ใช้ HS5 และ E28 (เมื่อใช้ HS5 หมดแล้ว)
เชียงใหม่, เชียงราย, น่าน, พะเยา, แพร่, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, อุตรดิตถ์
เขตุ 6 ใช้ HS6 และ E28 (เมื่อใช้ HS6 หมดแล้ว)
กำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พิจิตร, พิษณุโลก, เพรชบูรณ์, สุโขทัย, อุทัยธานี
เขตุ 7 ใช้ HS7 และ E29 (เมื่อใช้ HS7 หมดแล้ว)
กาญจนบุรี, นครปฐม, ประจวบคีรีขันธ์, เพชรบุรี, ราชบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สุพรรณบุรี
เชตุ 8 ใช้ HS8 และ E29 (เมื่อใช้ HS8 หมดแล้ว)
กระบี่, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, พังงา, สุราษฎร์ธานี, ภูเก็ต, ระนอง
เขตุ 9 ใช้ HS9 และ E29 (เมื่อใช้ HS9 หมดแล้ว)
ตรัง, นราธิวาส, ปัตตานี, พัทลุง, สตูล, ยะลา, สงขลา 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น