วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

คลื่นความถี่และหลักเกณฑ์การใช้คลื่นความถี่ในกิจการวิทยุสมัครเล่น

๑. ระบบ (Mode) ต่างๆ ที่ใช้ในกิจการวิทยุสมัครเล่น

การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง (Phone) ให้ใช้รับส่งข่าวสารโดยใช้เสียงพูด (Speech)
การติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME)
การติดต่อสื่อสารสะท้อนหางดาวตก (Meteor scatter : MS)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่อง (Continuous wave : CW)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่องที่มีการมอดูเลต (Modulated continuouswave:MCW)
การติดต่อสื่อสารด้วยเครื่องกำเนิดสัญญาณ (Machine generated mode : MGM)
การติดต่อสื่อสารด้วยการผสมคลื่นแบบ Single sideband (SSB)
การติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น (Satellite)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณข้อมูล (Data or Packet radio)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณภาพ (Image)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณโทรทัศน์แบบสแกนช้า (Slow-scan television : SSTV)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณโทรทัศน์แบบสแกนเร็ว (Fast-scan television : FSTV)
การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณพัลส์ (Pulse)

๒. ขอบเขตการใช้คลื่นความถี่

พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น
(๑) กำหนดให้ใช้คลื่นความถี่ 28 000 – 29 700 kHz สำหรับการติดต่อสื่อสารเพื่อรับส่งสัญญาณระหว่างสถานีวิทยุสมัครเล่น โดยใช้กำลังส่งไม่เกิน 100 วัตต์
(๒) กำหนดให้ใช้คลื่นความถี่ 144 – 146.5 MHz ตามข้อ ๓ โดยใช้กำลังส่งไม่เกิน 60 วัตต์ สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นควบคุมข่ายให้ใช้กำลังส่งไม่เกิน 100 วัตต์
(๓) กำหนดให้ใช้คลื่นความถี่ 435 - 438 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น (Satellite) เฉพาะด้านรับ (Downlink) จากดาวเทียมมายังสถานีวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น
(๔) กำหนดให้ใช้คลื่นความถี่ 1 260 – 1 270 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น (Satellite) เฉพาะด้านรับ (Downlink) จากดาวเทียมมายังสถานีวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น

๓. การใช้คลื่นความถี่ 144 – 146.5 MHz

กำหนดคลื่นความถี่ 144.0000 - 144.1000 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่อง (CW) และการติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (EME) โดย144.0500 MHz เป็นช่องเรียกขานสำหรับ CWคลื่นความถี่
กำหนดคลื่นความถี่ 144.1000 - 144.1500 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่อง (CW) การติดต่อสื่อสารด้วยเครื่องจักรกำเนิดสัญญาณ (MGM) และการคลื่นวิทยุจากผิวดวงจันทร์ (EME)ติดต่อสื่อสารด้วยการสะท้อน
กำหนดคลื่นความถี่ 144.1500 - 144.3750 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารด้วยการผสมคลื่นแบบ SSB และการติดต่อสื่อสารสะท้อนหางดาวตก (MS) โดยคลื่นความถี่ 144.2000 MHz สำหรับ SSBเป็นช่องเรียกขาน
กำหนดคลื่นความถี่ 144.3750 - 144.5000 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทอื่น ดังนี้
กำหนดคลื่นความถี่ 144.3900 MHz สำหรับการสื่อสารระบบกำหนดตำแหน่งสถานีวิทยุสมัครเล่นอัตโนมัติ (Automatic Packet Reporting System : APRS)
กำหนดคลื่นความถี่ 144.4125 - 144.4375 MHz สำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทอื่น ได้แก่ การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณข้อมูล (Data or Packet radio) การติดต่อสื่อสารด้วยโทรพิมพ์ (RTTY) การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณภาพ (Image) การติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณโทรทัศน์แบบสัญญาณวิทยุสแกนช้า (SSTV) และการติดต่อสื่อสารด้วยสัญญาณแบบคลื่นต่อเนื่องที่มีการมอดูเลต (MCW)
กำหนดคลื่นความถี่ 144.4500 - 144.4900 MHz สำหรับการใช้งานประเภทให้สัญญาณ (Beacon) ของสถานีวิทยุสมัครเล่นสำหรับกิจกรรมพิเศษ เท่านั้น โดยกำหนดให้คลื่นความถี่144.4900 MHz สำหรับการใช้งานประเภทให้สัญญาณ (Beacon) แบบ WSPR
กำหนดคลื่นความถี่ 145.8000 - 146.0000 MHz สำหรับการรับส่งสัญญาณระหว่างดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นกับสถานีวิทยุสมัครเล่น เท่านั้น

กำหนดคลื่นความถี่สำหรับการรับส่งสัญญาณระหว่างสถานีวิทยุสมัครเล่นแบบซิมเพล็กซ์(Simplex) โดยกำหนดช่องความถี่วิทยุ ดังนี้

ช่องที่ คลื่นความถี่ (MHz) ลักษณะการใช้งาน
1 144.5125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
2 144.5250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
3 144.5375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
4 144.5500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
5 144.5625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
6 144.5750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
7 144.5875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
8 144.6000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
9 144.6125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
10 144.6250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
11 144.6375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
12 144.6500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
13 144.6625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
14 144.6750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
15 144.6875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
16 144.7000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
17 144.7125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
18 144.7250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
19 144.7375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
20 144.7500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
21 144.7625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
22 144.7750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
23 144.7875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
24 144.8000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
25 144.8125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
26 144.8250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
27 144.8375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
28 144.8500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
29 144.8625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
30 144.8750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
31 144.8875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
32 144.9000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงสำหรับเรียกขานและแจ้งเหตุทั่วไป (General notice and Calling)
33 144.9125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
34 144.9250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
35 144.9375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
36 144.9500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
37 144.9625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
38 144.9750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
39 144.9875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
40 145.0000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงสำหรับเรียกขานและแจ้งเหตุ ฉุกเฉิน (Emergency, Distress and Calling) และเป็นคลื่นความถี่กลางสำหรับประสานงานระหว่างหน่วยงานพนักงานวิทยุสมัครเล่นของรัฐและ
41 145.1375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
42 145.1500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
43 145.1625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
44 145.1750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
45 145.1875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
46 145.2000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
47 145.2125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
48 145.2250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
49 145.2375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
50 145.2500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
51 145.2625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
52 145.2750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
53 145.2875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
54 145.3000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
55 145.3125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
56 145.3250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
57 145.3375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
58 145.3500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
59 145.3625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
60 145.3750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
61 145.3875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
62 145.4000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
63 145.4125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
64 145.4250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
65 145.4375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
66 145.4500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง / กิจกรรมพิเศษ
67 145.4625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง / กิจกรรมพิเศษ
68 145.4750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง / กิจกรรมพิเศษ
69 145.4875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง / กิจกรรมพิเศษ
70 145.7375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
71 145.7500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
72 145.7625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
73 145.7750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
74 145.7875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
75 146.0125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
76 146.0250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
77 146.0375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
78 146.0500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
79 146.0625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
80 146.0750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
81 146.0875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
82 146.2125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
83 146.2250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงโดยเชื่อมโยงผ่านโครงข่ายอื่น
84 146.2375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
85 146.2500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
86 146.2625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
87 146.2750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
88 146.2875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
89 146.3000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
90 146.3125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
91 146.3250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
92 146.3375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
93 146.3500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
94 146.3625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
95 146.3750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
96 146.3875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
97 146.4000 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
98 146.4125 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
99 146.4250 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
100 146.4375 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
101 146.4500 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
102 146.4625 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
103 146.4750 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
104 146.4875 การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง

กำหนดคลื่นความถี่สำหรับการรับส่งสัญญาณระหว่างสถานีวิทยุสมัครเล่นแบบ Semi-duplexโดยกำหนดช่องคลื่นความถี่ ดังนี้

คู่ที่ คลื่นความถี่รับ (MHz) คลื่นความถี่ส่ง (MHz) ลักษณะการใช้งาน
1 145.0125 145.6125 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ (สำรองการใช้งานเพื่อรองรับเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต)
2 145.0250 145.6250 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
3 145.0375 145.6375 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
4 145.0500 145.6500 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
5 145.0625 145.6625 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
6 145.0750 145.6750 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
7 145.0875 145.6875 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
8 145.1000 145.7000 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
9 145.1125 145.7125 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
10 145.1250 145.7250 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
11 145.5000 146.1000 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
12 145.5125 146.1125 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
13 145.5250 146.1250 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
14 145.5375 146.1375 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
15 145.5500 146.1500 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
16 145.5625 146.1625 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
17 145.5750 146.1750 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ
18 145.5875 146.1875 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ (สำรองการใช้งานเพื่อรองรับเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต)
19 145.6000 146.2000 สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นประเภททวนสัญญาณ (สำรองการใช้งานเพื่อรองรับเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต)

วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สัญญาณเรียกขาน Call Sign


สัญญาณเรียกขาน Call Sign

HSA-HSZ และ E2A-E2Z คือ อักษรขึ้นต้นสัญญาณเรียกขานระหว่างประเทศสำหรับประเทศไทย
คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติเป็นผู้กำหนดสัญญาณเรียกขานสำหรับนักวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย โดยรูปแบบที่ระบุในข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ และกำหนดรวยละเอียดเพิ่มเติมดังนี้

HS N XXX

HS หรือ E2 ระบุว่าเป็นประเทศไทยตาม ข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ
N ตัวเลข 0-9 ใช้ระบุว่าอยู่ในเขตุพื้นที่ใดของประเทศไทย
XXX พยัญชนะ 1 ตัว หรือ 2 ตัว หรือ 3 ตัว
     X    - ใช้ระดับ VIP สูงสุดของประเทศ 
     XX  - ใช้เรียงลำดับจาก AA-ZZ  ยกเว้น AAและAZซึ่งสำรองไว้สำหรับสถานีกรณีพิเศษ เช่น                  สถานีทวนสัญญาณ (Beacon) สถานีชมรมหรือสมาคม (Club Station)
             และ สถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ และยกเว้น CQ, HS
     XXX- ใช้เรียงลำดับจาก AAA-ZZZ ยกเว้น DDD, Q-CODE, SOS และ TTT

การรายงานสัญญาณด้วยระบบ RST (Readability Strength Tone)

การรายงานสัญญาณด้วยระบบ RST (Readability Strength Tone)

R (Readability) ความชัดเจนในการรับฟัง มี 5 ระดับ

          1.       ไม่ได้เลย
          2.       ไม่ค่อยดี
          3.       พอใช้
          4.       ดี
          5.       ดีเยี่ยม

S (Signal Strength) ความแรงของสัญญาณ มี 9 ระดับ

           1.       อ่อนมากจนรับแทบไม่ได้
           2.       อ่อนมาก
           3.       อ่อน
           4.       พอใช้
           5.       ดีพอใช้
           6.       ดี
           7.       แรงปานกลาง
           8.       แรงดี
           9.       แรงดีมาก

T (Tone) ความแจ่มใสของสัญญาณเสียงมี 9 ระดับ

           1.       เสียงพร่ามากมีคลื่นความถี่ต่ำผสมมาด้วย
           2.       เสียงพร่ามาก
           3.       เสียงพร่าเหมือนใช้แรงดันไฟที่ไม่มีการกรองให้เรียบ
           4.       เสียงพร่าและยังกระเพื่อมอยู่
           5.       เสียงยังกระเพื่อมอยู่มาก
           6.       เสียงยังกระเพื่อมเล็กน้อย
           7.       เกือบดียังกระเพื่อมอยู่บ้าง
           8.       เกือบดีแล้ว
           9.       ดีมากไม่มีตำหนิ

    เนื่องจากในการติดต่อระบบวิทยุโทรทัศน์ไม่มีสัญญาณวิทยุโทรเลข (สัญญาณมอร์ส)              จึงตัดตัว T ทิ้งไป เรียกว่า ระบบ RS และนิยมดูค่า S จากเข็มของ S-METER                               ของเครื่องรับวิทยุซึ่งจะมีเสกลเซียลจาก 1-9 ส่วนที่เกินจาก  9                     ก็จะแสดงเป็นค่า dB เช่น +10dB, +20dB เป้นต้น

      ตัวอย่าง
      รายงานสัญญาณในระบบ RS เป็น 59 หมายความว่า รับฟังข้อความได้ดีเยี่ยมและมีความแรง                    สัญญาณดีมาก
      รายงานสัญญาณในระบบ RS เป็น 35 หมายความว่า รับฟังข้อความได้แต่ด้วยความลำบากมาก                  และมีความแรงขอสัญญาณดีพอใช้


      รายงานสัญญาณในระบบ RS เป็น 59 +20dB แสดงว่าเข็มของมิเตอร์ขึ้นสูงกว่าเลข 9 โดยอยู่                ที่ตำแหน่ง 20 dB

               จากคู่มืออบรมพนักงานวิทยุสมัครเล่นหน้าที่ 139

วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558

การแบ่งเขตการกำกับดูแลตามพื้นที่ สำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย


ที่มา : คู่มืออบรมและสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น หน้าที่ 134

สัญญาณเรียกขาน Call Sign  (คู่มือหน้า 131)         HS หรือ E2  N XXX
HS หรือ E2– ประเทศไทย                        N(0-9) เขต
XXX – X – VIP, XX สถานีทวนสัญญาณ (Beacon)  สถานีของชมรม (Club Station) สถานีชั่วคราวเฉพาะกิจ, XXX ใช้เรียง AAA-ZZZ(ยกเว้น DDD, Q-Code, SOS และ TTT
การแบ่งสัญญาณเรียกขานของประเทศไทย แบ่งเป็น 9 เขตุ ตามศูนย์ควบคุมข่าย (คู่มือหน้า 134)
เขตุ 1 ใช้ HS0, HS1, E20, E21, E22 และ E23-E26 (เมื่อใช้ E22 หมดแล้ว)
กรุงเทพมหานคร, ปทุมธานี, ชัยนาท, นนทบุรี, ลพบุรี, สมุทรปราการ, สระบุรี, อ่างทอง, สิงห์บุรี, พระนครศรีอยุทธยา
เขตุ 2 ใช้ HS2 และ E27
ฉะเชิงเทรา, นครนายก, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด 
เขตุ 3 ใช้ HS3 และ E27 (เมื่อใช้ HS3 หมดแล้ว)
ชัยภูมิ, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ยโสธร, ศรีสะเกศ, สุรินทร์, อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ
เขตุ 4 ใช้ HS4 และ E27 (เมื่อใช้ HS4 หมดแล้ว)
กาฬสินธุ์, ขอนแก่น, นครพนม, มหาสารคาม, มุกดาหาร, ร้อยเอ็ด, เลย, สกลนคร, หนองคาย, หนองบัวลำภู, บึงกาฬ, อุดรธานี
เขต 5 ใช้ HS5 และ E28 (เมื่อใช้ HS5 หมดแล้ว)
เชียงใหม่, เชียงราย, น่าน, พะเยา, แพร่, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, อุตรดิตถ์
เขตุ 6 ใช้ HS6 และ E28 (เมื่อใช้ HS6 หมดแล้ว)
กำแพงเพชร, ตาก, นครสวรรค์, พิจิตร, พิษณุโลก, เพรชบูรณ์, สุโขทัย, อุทัยธานี
เขตุ 7 ใช้ HS7 และ E29 (เมื่อใช้ HS7 หมดแล้ว)
กาญจนบุรี, นครปฐม, ประจวบคีรีขันธ์, เพชรบุรี, ราชบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สุพรรณบุรี
เชตุ 8 ใช้ HS8 และ E29 (เมื่อใช้ HS8 หมดแล้ว)
กระบี่, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, พังงา, สุราษฎร์ธานี, ภูเก็ต, ระนอง
เขตุ 9 ใช้ HS9 และ E29 (เมื่อใช้ HS9 หมดแล้ว)
ตรัง, นราธิวาส, ปัตตานี, พัทลุง, สตูล, ยะลา, สงขลา 

The Phonetic / Alphabetic code

The Phonetic / Alphabetic code

A=Alpha                                    B=Bravo
C=Charlie                                  D=Delta
E=Echo                                     F=Foxtrot
G=Golf                                      H=Hotel
I=India                                     J=Juliet
K=Kilo                                      L=Lima                
M=Mike                                    N=November   
O=Oscar                                   P=Papa                               
Q=Quebec                                R=Romeo          
S=Sierra                                  T=Tango       
U=Uniform                               V=Victor             
W=Whiskey                              X=X-ray              
Y=Yankee                                Z=Zulu

คำย่ออื่นๆ


CQ ท่านใดได้ยินกรุณาตอบด้วย                                                         
OM สุภาพบุรุษ เพื่อนสนิท                                                 
OL มารดา                                                                                     
HARMONIC  ลูกชาย-ลูกสาว                                                                         
LAND LINE  โทรศัพท์                                                                                   
ROGER  รับทราบและเข้าใจ                                                                     
73 สวัสดี ส่งความปราถนาดี (ทั่วไป)                                 
STANDBY ยังเปิดฟังวิทยุอยู่                                                                       
CLEAR สิ้นสุดภารกิจ เลิกใช้ความถี่แล้ว
YL สุภาพสตรี
OM สุภาพบุรุษ เพื่อนสนิท
XYL ภรรยาROGER รับคำสั่ง พร้อมปฎิบัติตาม
NEGATIVE ไม่ใช่ ขอปฏิเสธ
MAYDAY ขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน
CQ ทุกคนในความถี่โปรดทราบ
DX การติดต่อทางไกล
73 ส่งความปราถนาดีทั่วไป
88 ส่งความปราถนาดี (เพศตรงข้าม)
STANDBY ยังเปิดฟังวิทยุอยู่
STANDING BY พร้อมรับข่าวสารและคำสั่งในทันที
CLEAR สิ้นสุดภารกิจ เลิกใช้ความถี่ 

BREAK ขออนุญาตเข้าไปขัดจังหวะระหว่างที่คู่สถานีหนึ่งกำลังติดต่อสนทนากัน
CONTACT มีความหมายเช่นเดียวกับ Break
BREAK CQ การกระจายข่าวให้ทุกสถานีภายในข่ายทราบ
EYEBALL หมายถึงการไปพบกัน
HAM นักวิทยุสมัครเล่น
HOME หรือ HOME QTC บ้านหรืออยู่ที่บ้าน
LIMAR-LIMAR โทรศัพท์